May 3, 2024

ภาคใต้

ชื่ออาหารภาษามลายู กอเละลอเมาะ เป็นขนมที่มีกระบวนการทำหลายขั้นตอน นิยมรับประทานเป็นตอนเที่ยง หรือตอนเย็นๆ หรือรับประทานเดือนบวช ช่วงฝนตก อากาศเย็น กินได้ทุกวัย วัยผู้ใหญ่ 40 ปีขึ้น… อ่านต่อที่นี่ https://pattaniheritagecity.psu.ac.th/food/%e0%b8%82%e0%b8%99%e0%b8%a1%e0%b8%81%e0%b8%ad%e0%b9%80%e0%b8%a5%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%a5%e0%b8%ad%e0%b9%80%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%b0-%e0%b8%81%e0%b8%ad%e0%b9%80%e0%b8%a5%e0%b8%b0%e0%b8%8b%e0%b8%b2/
ซาโยโกโล๊ะ หรือ ซาโยผักพื้นบ้าน (ซาโย = ต้มกระทิ) เป็นอาหารยอดนิยมของคนเฒ่าคนแก่ที่ทำกินต่อ ๆ กันมายาวนาน ว่ากันว่าซาโยจะอร่อยหรือไม่นั้นจะต้องใส่พืชผักพื้นบ้านหลายอย่าง ได้แก่ แตงกวา กะหล่ำปลี ดอกกะล่ำ มะเขือม่วง มะเขือยาว ผักขม...
ข้าวยำ เป็นอาหารหลักในท้องถิ่นของชาวไทยมุสลิมปัตตานีนิยมรับประทานในมื้อเช้า และมื้อเย็น เป็นอาหารที่ทำรับประทานง่าย หรือหาซื้อง่ายมีขายเกือบทุกชุมชน เนื่องจากวัตถุดิบที่ใช้ปรุงมีอยู่ในท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นผักสดจากริมรั้ว ปลาที่หาได้ในท้องทะเลรอบอ่าวปัตตานี พร้อมกับภูมิปัญญาในการถนอมอาหารแปรรูปจากปลาสดกลายเป็นบูดูที่มีรสชาติ อร่อย กลมกล่อม ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในการปรุงข้าวยำ แม้ข้าวยำเป็นอาหารพื้นบ้านที่ดูเรียบง่าย ราคาถูกในชุมชนห่อละ 10 บาท แต่อุดมด้วยคุณค่าทางโภชนาการ...
กล้วยเป็นพืชไม้ล้มลุกที่ชาวบ้านในชุมชนนิยมปลูกตามบ้าน ตามสวน เพราะเป็นพืชสารพัดประโยชน์ ใบตองใช้ห่ออาหาร ลำต้นใช้ทำเชือกกล้วย ส่วนต่าง ๆ ของกล้วยนำมาทำอาหารได้มากมาย เช่น ผลทั้งสุกและดิบทำกล้วยแขก กล้วยบวชชี กล้วยปิ้ง หัวปลีนำมารับประทานได้หลายวิธี เช่น รับประทานสด หรือต้มแนมกับบูดู แกงหัวปลี...
ปือโฆะลือมูซูมะ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ไส้กรอกวัว คำว่า “ปือโฆะลือมู” หมายถึง ไส้วัว คำว่า “ซูมะ” หมายถึง ยัดใส่ ปือโฆะลือมูซูมะนับว่าเป็นอาหารที่เกิดจากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่รู้จักนำวัตถุมาแปรรูปให้มีคุณค่า ว่ากันว่าสมัยก่อนในช่วงระยะเวลาวันอีดิลอัฏฮาของทุก ๆ ปีจะมีการปฏิบัติกิจกรรมที่สำคัญยิ่ง คือ การเชือดสัตว์เพื่อทำ...
ปลาแห้ง ถือเป็นภูมิปัญญาในการถนอมอาหารที่ชาวไทยมุสลิมทำมาอย่างช้านาน โดยการนำปลาผ่าท้องแบออกเป็นแผ่น ล้างให้สะอาด แช่น้ำเกลือ นำไปตากแดดหนึ่งวัน แล้วเก็บไว้กินหรือนำไปปรุงเป็นอาหารตามต้องการ แกงปลาแห้ง หรือ คนไทยเรียก แกงเทโพ เป็นอาหารยอดนิยมของชาวสวนที่อยู่บริเวณเชิงเขาห่างไกลจากตลาด ยิ่งในหน้าฝน ชาวบ้านจะมีอาหารแห้งอยู่ประจำ ได้แก่ ปลาแห้ง จึงนำมาปรุงกับกะทิผสมผักพื้นบ้านที่หามาได้ตามเชิงเขา...