March 29, 2024

ประเพณีล้านนา

สงกรานต์ มาจากคำสันสกฤต สงฺกฺรานฺติ คือ สังกรานติ หรือสังกรานติ์ แปลว่าคติ (ทาง) ของดวงอาทิตย์ หรือดาวนพเคราะห์ที่ย้ายจากฎจักร (จักรราศี, ราศี) หนึ่ง ไปสู่อีกภูจักรหนึ่งคติ คือ การไป ในความหมายทางโหราศาสตร์ไทย มีความหมายถึง ก้าวขึ้นย่างขึ้น หรือการเคลื่อนย้าย...
          ประเพณียี่เป็ง หรือประเพณีเดือนยี่ คำว่า ยี่ ในภาษาล้านนาหมายถึงเดือน ๒ ส่วนคำว่า เป็ง หมายถึง คืนที่มีพระจันทร์เต็มดวง ดังนั้น ยี่เป็ง จึงหมายถึงวันเพ็ญเดือนยี่ ซึ่งตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองของภาคกลาง การนับเดือนของล้านนานั้น...
          ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ของชาวล้านนา มีความแตกต่างจากสงกรานต์ของชาวไทยภาคกลาง ทั้งระยะเวลา กิจกรรม ความเชื่อ และความมุ่งหมาย ดังนั้น ปีใหม่เมืองของชาวล้านนา จึงมีวันและกิจกรรมต่างๆ ที่ปฏิบัติกัน มากกว่าสงกรานต์ของชาวไทยภาคกลาง ซึ่งประกอบด้วย...
          ประเพณีวัฒนธรรมการปลูกเรือนนั้น ในแต่ละสังคมย่อมมีวิธีการที่แตกต่างและคล้ายคลึงกันไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางสังคมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และสภาพแวดล้อม ประเพณีการปลูกเรือนล้วนแฝงไว้ด้วยคติความเชื่อของสังคมนั้นๆซึ่งเป็นตัวกำหนดพื้นฐานของการปลูกสร้างบ้านเรือน เพื่อให้บังเกิดความอยู่เย็นเป็นสุขแก่ผู้อาศัยในเรือนนั้นๆ การ “ปกหอยอเฮือน” เป็นคำพูดในภาษาล้านนา หมายถึงประเพณีการปลูกเรือนล้านนา แต่เดิมที่อยู่อาศัยของชาวล้านนามีด้วยกันหลายระดับ แล้วแต่ฐานนะของเจ้าของมีตั้งแต่ตูบติดดิน...
          ประเพณีวัฒนธรรมการปลูกเรือนนั้น ในแต่ละสังคมย่อมมีวิธีการที่แตกต่างและคล้ายคลึงกันไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางสังคมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และสภาพแวดล้อม ประเพณีการปลูกเรือนล้วนแฝงไว้ด้วยคติความเชื่อของสังคมนั้นๆซึ่งเป็นตัวกำหนดพื้นฐานของการปลูกสร้างบ้านเรือน เพื่อให้บังเกิดความอยู่เย็นเป็นสุขแก่ผู้อาศัยในเรือนนั้นๆ การ “ปกหอยอเฮือน” เป็นคำพูดในภาษาล้านนา หมายถึงประเพณีการปลูกเรือนล้านนา แต่เดิมที่อยู่อาศัยของชาวล้านนามีด้วยกันหลายระดับ แล้วแต่ฐานนะของเจ้าของมีตั้งแต่ตูบติดดิน...
          ประเพณีวัฒนธรรมการปลูกเรือนนั้น ในแต่ละสังคมย่อมมีวิธีการที่แตกต่างและคล้ายคลึงกันไป ขึ้นอยู่กับปัจจัยทางสังคมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และสภาพแวดล้อม ประเพณีการปลูกเรือนล้วนแฝงไว้ด้วยคติความเชื่อของสังคมนั้นๆซึ่งเป็นตัวกำหนดพื้นฐานของการปลูกสร้างบ้านเรือน เพื่อให้บังเกิดความอยู่เย็นเป็นสุขแก่ผู้อาศัยในเรือนนั้นๆ การ “ปกหอยอเฮือน” เป็นคำพูดในภาษาล้านนา หมายถึงประเพณีการปลูกเรือนล้านนา แต่เดิมที่อยู่อาศัยของชาวล้านนามีด้วยกันหลายระดับ แล้วแต่ฐานนะของเจ้าของมีตั้งแต่ตูบติดดิน...
         ประเพณีทานหลัวหิงไฟพระเจ้า คือการนำเอาฟืนมาเผา  เพื่อให้พระพุทธเจ้าได้ผิงไฟ จัดขึ้นในช่วงเดือน  ๔ เหนือ หรือประมาณเดือนธันวาคมถึงมกราคม ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำของเดือน  เป็นช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น ชาวล้านนามีความเชื่อว่า พระพุทธเจ้าหรือพระพุทธรูปในวิหารก็รู้สึกถึงความหนาวเย็นเช่นเดียวกับคนเรา...
          ประเพณีทานก๋วยสลาก หรือสลากภัต  เป็นประเพณีทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญที่แสดงออกถึงความสามัคคีกันในการมาพร้อมหน้าในบรรดาหมู่ญาติพี่น้อง  เพื่อการทำบุญถึงญาติที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ประเพณีนี้ ได้ปฏิบัติสืบทอดกันมาช้านาน ในดินแดนล้านนา  เริ่มถือปฏิบัติตั้งแต่ครั้งใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด การทานก๋วยสลาก เริ่มราววันเพ็ญเดือน๑๒ เหนือ  หรือประมาณเดือนกันยายน ...
          เรือน เป็นหนึ่งในปัจจัย ๔ ของมนุษย์  มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต  เป็นสถานที่ที่รวมกันของสมาชิกในครอบครัว           เมื่อสร้างเรือนขึ้นในแต่ละครั้ง...
          ประเพณีแต่งงานแบบล้านนา เป็นวัฒนธรรมที่งดงามแฝงไปด้วยคติความเชื่อ และศีลธรรมแห่งการครองเรือน เพื่อครองชีวิตคู่อย่างมีความสุขตามกรอบจารีตประเพณีล้านนา           เมื่อบ่าวสาวถึงวัยอันควร ดังคำโบราณล้านนากล่าวไว้ว่า ไม้ดีผ่า...